Link Copied
การพยากรณ์อากาศ+
โอโซน+
ปรากฏการณ์เอลนีโญ
ปรากฏการณ์ลานีญา
ปรากฏการณ์เอลโซ่
ภาวะเรือนกระจก Greenhouse effect
ปัจจัยทางธรรมชาติที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ภูมิอากาศของประเทศไทย
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ+
ฤดูกาล,ฤดูกาลของโลก,ฤดูกาลของประเทศไทย
พายุหมุนเขตร้อน+
ชื่อพายุโซนร้อนปี2565, ดีเปรสชั่น, โซนร้อน, ไต้ฝุ่น
เกณฑ์อากาศ
เวลามาตรฐาน,การประกาศใช้เวลามาตรฐานของประเทศไทย
แผ่นดินไหว+
ภัยธรรมชาติในประเทศไทย
การพยากรณ์อากาศ+
โอโซน+
ปรากฏการณ์เอลนีโญ
ปรากฏการณ์ลานีญา
ปรากฏการณ์เอลโซ่
ภาวะเรือนกระจก Greenhouse effect
ปัจจัยทางธรรมชาติที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ภูมิอากาศของประเทศไทย
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ+
ฤดูกาล,ฤดูกาลของโลก,ฤดูกาลของประเทศไทย
พายุหมุนเขตร้อน+
ชื่อพายุโซนร้อนปี2565, ดีเปรสชั่น, โซนร้อน, ไต้ฝุ่น
เกณฑ์อากาศ
เวลามาตรฐาน,การประกาศใช้เวลามาตรฐานของประเทศไทย
แผ่นดินไหว+
ภัยธรรมชาติในประเทศไทย
ตรวจพบรูปแบบการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
การสูญเสียโอโซนรุนแรงสุด เหนือทวีปแอนตาร์กติกที่หนาวเย็น เพราะอากาศเย็นจัดที่ไหลเวียนรอบๆ ขั้วโลกในชั้นสตราโตสเฟียร์ จะป้องกันไม่ให้เกิดการแลกเปลี่ยนมวลอากาศ กับเขตละติจูดกลาง ทำให้อุณหภูมิต่ำถึง -80 องศาเซลเซียส ซึ่งก่อให้เกิดเมฆบนชั้นสตราโตสเฟียร์เหนือบริเวณขั้วโลก (Polar Stratospheric Cloud) ด้วยอนุภาคน้ำแข็ง ปกติโบรมีนและคลอรีนค่อนข้างอยู่ในสถานะคงที่ เช่นสารประกอบคลอรีนไนเตรต (ClONO2)
โบรมีนไนเตรต (BrONO2) และไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) อนุภาคน้ำแข็งจะดึงดูดไอน้ำ และดูดกลืนสารประกอบไนโตรเจนแล้วตกลงมาอยู่ในบรรยากาศระดับล่างๆ ด้วยการคายน้ำออก แต่เมื่อมีแสงแดดในฤดูใบไม้ผลิสารประกอบที่สะสมอยู่ก็จะเปลี่ยนเป็นรีแอคทีฟคลอรีนและโบรมีน บนผิวของเมฆขั้วโลก และสามารถทำลายโมเลกุลโอโซนได้อย่าง น่าอัศจรรย์
รูปแบบการทำลายโอโซนเหนือทวีปแอนตาร์กติก
รูปแบบการทำลายโอโซนโดยแอคทีฟ คลอรีน และโมเลกุล CFC-12