Link Copied
การพยากรณ์อากาศ+
โอโซน+
ปรากฏการณ์เอลนีโญ
ปรากฏการณ์ลานีญา
ปรากฏการณ์เอลโซ่
ภาวะเรือนกระจก Greenhouse effect
ปัจจัยทางธรรมชาติที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ภูมิอากาศของประเทศไทย
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ+
ฤดูกาล,ฤดูกาลของโลก,ฤดูกาลของประเทศไทย
พายุหมุนเขตร้อน+
ชื่อพายุโซนร้อนปี2565, ดีเปรสชั่น, โซนร้อน, ไต้ฝุ่น
เกณฑ์อากาศ
เวลามาตรฐาน,การประกาศใช้เวลามาตรฐานของประเทศไทย
แผ่นดินไหว+
ภัยธรรมชาติในประเทศไทย
การพยากรณ์อากาศ+
โอโซน+
ปรากฏการณ์เอลนีโญ
ปรากฏการณ์ลานีญา
ปรากฏการณ์เอลโซ่
ภาวะเรือนกระจก Greenhouse effect
ปัจจัยทางธรรมชาติที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ภูมิอากาศของประเทศไทย
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ+
ฤดูกาล,ฤดูกาลของโลก,ฤดูกาลของประเทศไทย
พายุหมุนเขตร้อน+
ชื่อพายุโซนร้อนปี2565, ดีเปรสชั่น, โซนร้อน, ไต้ฝุ่น
เกณฑ์อากาศ
เวลามาตรฐาน,การประกาศใช้เวลามาตรฐานของประเทศไทย
แผ่นดินไหว+
ภัยธรรมชาติในประเทศไทย
เหตุการณ์แผ่นดินไหวที่สำคัญ
วัน เดือน ปี | บริเวณที่เกิดแผ่นดินไหว |
3 มีนาคม 2528 |
ประเทศชิลี ขนาด 7.8 ริคเตอร์ คนตาย 146 คน |
19-21 กันยายน 2528 |
ประเทศแม็กซิโก ขนาด 8.1 ริคเตอร์ คนตาย 4,000 คน |
5-6 มีนาคม 2530 |
ประเทศเอกวาเดอร์ ขนาด 7.3 ริคเตอร์ คนตาย 4,000 คน |
20 สิงหาคม 2531 |
พรมแดนอินเดีย-เนปาล ขนาด 6.4 ริคเตอร์ คนตาย 721 คน บาดเจ็บ 6,553 คน |
6 พฤศจิกายน 2531 |
พรมแดนจีน-พม่า ขนาด 7.3 ริคเตอร์ คนตาย 1,000 คน ไร้ที่อยู่ 27,000 คน |
7 ธันวาคม 2531 |
พรมแดนตุรกี-รัสเซีย ขนาด 6.2 ริคเตอร์ คนตาย 25,000 คน บาดเจ็บ 19,000 คน ไร้ที่อยู่ 500,000 คน |
22 มกราคม 2532 |
ประเทศรัสเซีย ขนาด 5.3 ริคเตอร์ คนตาย 274 คน |
1 สิงหาคม 2532 |
ที่ไอเรียน ขนาด 6.0 ริคเตอร์ คนตาย 90 คน |
17 ตุลาคม 2532 |
อ่าวซานฟรานซิสโก ขนาด 6.9 ริคเตอร์ คนตาย 62 คน |
30 พฤษภาคม 2533 |
ประเทศเปรู ขนาด 5.5 ริคเตอร์ คนตาย 135 คน |
20 มิถุนายน 2533 |
ภาคตะวันตกของประเทศอิหร่าน ขนาด 6.3 ริคเตอร์ คนตาย 40,000 -50,000 คน บาดเจ็บมากกว่า 60,000 คน |
16 กรกฎาคม 2533 |
ประเทศฟิลิปปินส์ ขนาด 7.7 ริคเตอร์ คนตาย 1,000 คน |
31 มกราคม 2534 |
พรมแดนปากีสถาน-อัฟกานีสถาน ขนาด 6.8 ริคเตอร์ คนตาย 300 คน |
5 เมษายน 2534 |
ตอนเหนือประเทศเปรู ขนาด 6.5 ริคเตอร์ คนตาย 60 คน |
19 ตุลาคม 2534 |
ตอนเหนือของประเทศอินเดีย ขนาด 6.5 ริคเตอร์ คนตาย 2,000 คน บาดเจ็บ 1,800 คน |
13 มีนาคม 2535 |
ประเทศตุรกี ขนาด 6.2 ริคเตอร์ คนตาย 479 คน บาดเจ็บ 2,000 คน |
12 ตุลาคม 2535 |
ประเทศอียิปต์ ขนาด 6.6 ริคเตอร์ คนตาย 541 คน บาดเจ็บ 6,500 คน |
12 ธันวาคม 2535 |
ประเทศอินโดนีเซีย ขนาด 6.5 ริคเตอร์ คนตาย 2,500 คน บาดเจ็บ 500 คน |
12 กรกฎาคม 2536 |
ประเทศญี่ปุ่น ขนาด 6.6 ริคเตอร์ คนตาย 365 คน |
29 กันยายน 2536 |
ประเทศญี่ปุ่น ขนาด 6.6 ริคเตอร์ คนตาย 9,758 คน บาดเจ็บ 30,000 คน |
6 มิถุนายน 2537 |
ประเทศโคลัมเบีย ขนาด 6.4 ริคเตอร์ คนตาย 295 คน |
17 มกราคม 2538 |
ตอนใต้ของเกาะฮอนชู เมืองโกเบ เกียวโต โอซากา ประเทศ ญี่ปุ่น ขนาด 7.2 ริคเตอร์ คนตาย 5,000 คน บาดเจ็บ 26,000 คน |
17 สิงหาคม 2542 |
ประเทศตุรกี ขนาด 7.8 ริคเตอร์ คนตาย 17,118 คน บาดเจ็บ 50,000 คน ไร้ที่อยู่อาศัย 600,000 คน |
21 กันยายน 2542 |
เกาะไต้หวัน ขนาด 7.6 ริคเตอร์ คนตาย 2,400 คน บาดเจ็บ 8,000 คน ไร้ที่อยู่อาศัย 600,000 คน |
แผ่นดินไหวรู้สึกได้ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2442-2542
เพิ่มเติมข้อมูลแผ่นดินไหวรู้สึกได้ในประเทศไทย(update ถึง 16 ม.ค. 2545)
13 ก.ย.43 บริเวณ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน ขนาด 3.0 ริคเตอร์ รู้สึกได้ที่ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน
4 ม.ค.44 จ. เชียงตุง ประเทศพม่า ขนาด 5.0 ริคเตอร์ ขนาด 5.0 ริคเตอร์ รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย
22 ก.พ.44 บริเวณ เขื่อนเขาแหลม อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรีขนาด 4.3 ริคเตอร์ รู้สึกได้ที่ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี
2 ก.ค.44 บริเวณพรมแดน ไทย-พม่า ใกล้ อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน ขนาด 4.6 ริคเตอร์ รู้สึกได้ที่ จ.เชียงใหม่
11 พ.ย.44 บริเวณ อ.พาน จ.เชียงรายขนาด 3.7 ริคเตอร์ รู้สึกได้ที่ อ.พาน จ.เชียงราย
วัน เดือน ปี | บริเวณที่เกิดแผ่นดินไหว |
12 พฤศจิกายน 2542 |
ประเทศตุรกี ขนาด 6.3 ริคเตอร์ คนตาย 834 คน บาดเจ็บ 5,000 คน |
4 มิถุนายน 2543 |
ประเทศอินโดนีเซีย ขนาด 6.8 ริคเตอร์ คนตาย 103 คน บาดเจ็บ 2,174 คน |
6 ตุลาคม 2543 |
ประเทศญี่ปุ่น ขนาด 5.9 ริคเตอร์ บาดเจ็บ 130 คน บ้านเรือน เสียหาย 2,334 หลัง |
26 พฤศจิกายน 2543 |
บริเวณ คอเคซัส ประเทศรัสเซีย ขนาด 5.8 ริคเตอร์ ตาย 32 คน บาดเจ็บ 430 คน |
14 มกราคม 2544 |
ประเทศเอลซัลวาดอร์ ขนาด 6.4 ริคเตอร์ ตาย 844 บาดเจ็บ 4,723 คน |
26 มกราคม 2544 |
ประเทศอินเดีย ขนาด 6.4 ริคเตอร์ ตาย 20,085 คน บาดเจ็บ 166,836 คน สิ่งก่อสร้างพัง 339,000 หลัง |
13 กุมภาพันธ์ 2544 |
ประเทศเอลซัลวาดอร์ ขนาด 5.5 ริคเตอร์ ตาย 315 คน บาดเจ็บ 3,399 คน |
24 มิถุนายน 2544 |
ประเทศเปรู ขนาด 6.7 ริคเตอร์ ตาย 75 คน เสียชีวิตจากคลื่นซูนามิ 26 คน บาดเจ็บ 2,687 คน บ้านเรือนเสียหาย กว่า 50,000 หลัง |
14 พฤศจิกายน 2544 |
ประเทศจีน ขนาด 7.8 ริคเตอร์ บ้านเรือนเสียหายบางส่วน |